เส้นทางจักรยาน : เส้นทางชมเมืองเก่าน่าน (ระยะทาง 9.18 กิโลเมตร)
0
กำลังได้รับความสนใจ
สถานที่น่าสนใจ 22 แห่ง

แผนที่

วัดมิ่งเมือง
วัดมิ่งเมือง ในบรรดาวัดสวยของจังหวัดน่าน วัดมิ่งเมือง เป็นอีกหนึ่งวัดที่ขึ้นชื่อเรื่องความสวยงามและเป็นเอกลักษณ์ รวมถึงเป็นที่ตั้งของ เสาพระหลักเมืองน่าน ที่ใครไปเที่ยวน่าน ต้องไปไหว้สักการะเพื่อความเป็นสิริมงคล บริเวณด้านหน้าพระอุโบสถของวัดมิ่งเมือง เป็นที่ตั้งของ เสาพระหลักเมืองน่าน (แต่เดิมเรียก เสามิ่งเมือง) ซึ่งประดิษฐานอยู่ในศาลาจตุรมุขสีขาวที่มีลวดลายปูนปั้นวิจิตรงดงาม มียอดพรหมสี่หน้าเป็นตัวอาคาร เสาหลักเมืองมีความสูงประมาณ 3 เมตร ฐานประดับด้วยไม้แกะลวดลายลงรักปิดทอง ยอดเสาแกะสลักเป็นรูปพระพรหมพักตร์มีชื่อ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ข้อมูลจาก : https://travel.trueid.net/detail/JNnPvo9M9YJ
0
วัดศรีพันต้น
วัดศรีพันต้น วัดศรีพันต้น ตั้งอยู่ที่ ถนนเจ้าฟ้า อำเภอเมืองน่าน ภายในวัดมีวิหารที่สวยงาม ตั้งเด่นเป็นสง่ามีสีทองระยิบระยับ เป็นอีกวัดหนึ่งในจังหวัดน่าน ที่มีจิตรกรรมปูนปั้นที่สวยงามโดยเฉพาะพญานาคเจ็ดเศียร เฝ้าบันไดหน้าวิหารวัดสีทองเหลืองอร่ามสวยงามตระการตา ดูอ่อนโยนมีชีวิตชีวา ซึ่งปั้นแต่งโดยช่าง ชาวน่านชื่อ นายอนุรักษ์ สมศักดิ์ หรือ สล่ารง และภายในวิหารได้มีการเขียนภาพลายเส้นประวัติของพระพุทธเจ้า และประวัติ การกำเนิด เมืองน่าน โดยช่างชาวน่าน เป็นภาพเขียนลายเส้นลงสีธรรมชาติสวยงามและทรงคุณค่าอย่างยิ่ง สร้างโดยพญาพันต้น เจ้าผู้ครองนครน่าน แห่งราชวงศ์ภูคา ชื่อวัดตรงกับนามผู้สร้าง คือพญาพันต้น
0
วัดหัวข่วง
วัดหัวข่วง วัดหัวข่วง เป็นวัดที่อยู่ใจกลางเมือง ภายในวัด มีจิตรกรรมฝาผนังเป็นรูปพระพุทธเจ้านั่งใต้ต้นโพธิ์ภายในพระวิหาร มีพระพุทธรูปปางมารวิชัย ลักษณะพุทธศิลป์แบบท้องถิ่นล้านนา สกุลช่างเมืองน่าน ฝีมือประณีตงดงาม และ เจดีย์วัดหัวข่วง ทรงปราสาทหรือทรงเรือนธาตุ ได้รับอิทธิพลศิลปะล้านนา ประกอบด้วย ส่วนฐานสร้างเป็นสี่เหลี่ยมฐานปทม ประดับด้วยลูกแก้วสองชั้น มีฐานไม้ คั่นกลาง ฐานบัวลูกแก้วชั้นบนย่อมุม รับกับเรือนธาตุไปจรดชั้นบัวถลาใต้องค์ระฆัง ส่วนเรือนธาตุมีซุ้มจรนัมด้านละซุ้ม ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยสำริด ประดับมุมด้วยรูปเทวดาทรงเครื่องยืนพนมมือ เรือนธาตุเป็นชั้นบัวถลาซ้อนกันสามชั้น ยอดขององค์เจดีย์เป็นทรงระฆังมีขนาดเล็กไม่มีบัลลังก์ สันนิษฐานว่าเป็นศิลปะที่ดัดแปลงตามแบบของช่างเมืองน่าน มีอายุระหว่างสมัยล้านนาตอนปลาย นอกจากนี้ยังมี หอไตรเก่าแก่ ลักษณะเป็นอาคารทรงสี่เหลี่ยมจตุรมุข ใต้ถุนก่อทึบ คล้ายวิหาร เป็นสถานที่เก็บพระไตรปิฏก และคำภีร์โบราณ ที่มีอายุหลายปี ตั้งแต่สมัยก่อสร้างวัดอีกด้วย
0
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติประจำจังหวัดน่าน ตั้งอยู่ในบริเวณคุ้มของอดีตเจ้าผู้ครองนครน่าน เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนสองชั้น แบบตรีมุขหรือรูปตัวที รูปแบบผสมผสานระหว่างแบบศิลปะตะวันตกและศิลปะไทย โครงสร้างภายในเป็นไม้ หลังคามุงด้วยไม้แป้นเกล็ด ภายในแบ่งส่วนการจัดแสดงเป็น 2 ชั้น คือ ชั้นบน จัดแสดงเกี่ยวกับเรื่องโบราณคดีและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น แบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ห้องโถงใหญ่ เคยเป็นท้องพระโรงสำหรับเสด็จออกว่าราชการของเจ้าผู้ครองนคร จัดแสดงข้อมูลทางภูมิรัฐศาสตร์ของจังหวัดน่าน การสร้างบ้านแปงเมือง หลักฐานศิลาจารึก ลำดับเชื้อสายของเจ้าผู้ครองนคร เครื่องใช้ส่วนพระองค์ ภาพถ่ายโบราณ เงินตราและอาวุธ ถัดไปเป็น ห้องปีกอาคารและเฉลียง จัดแสดงเรื่องราวด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์ศิลปะ และห้องจัดแสดงงาช้างดำ ซึ่งเป็นสมบัติล้ำค่าคู่บ้านคู่เมืองน่านมาแต่โบราณชั้นล่างจะแสดงเรื่องราวด้านชาติพันธุ์วิทยา เกี่ยวกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของภาคเหนือ ส่วนเฉลียงด้านหลังและปีกอาคาร จัดแสดงเรื่องราวชีวิตความเป็นอยู่ของเผ่าชนต่างๆ ในจังหวัดน่าน
0
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน จากโรงเรียนเกษตรกรรมสู่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลน่าน 82 ปี สถาบันแห่งการเรียนรู้ โรงเรียนเกษตรกรรมน่าน ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พุทธศักราช 2481 ซึ่งในขณะนั้นนโยบายการศึกษาของรัฐบาลในสมัยนั้นได้กำหนดให้มีการศึกษาวิชาชีพซึ่งจัดให้เหมาะสมกับภูมิประเภท เช่น กสิกรรม หัตถกรรม และพาณิชการ เพื่อเป็นพื้นฐานความรู้สำหรับประกอบการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ต่างๆ ต่อมาเมื่อระบบการศึกษามีการพัฒนาขึ้นทั้งบุคลากร ครู เครื่องมือ อุปกรณ์ อาคารสถานที่ ในปี พุทธศักราช 2517 โรงเรียนเกษตรกรรมน่านจึงได้รับการยกฐานะให้เป็นวิทยาลัยเกษตรกรรม พุทธศักราช 2518 วิทยาลัยเกษตรกรรม ได้แยกตัวจากกรมอาชีวศึกษา และจัดตั้งเป็นวิทยาลัยเทคโนโลยี และอาชีวศึกษา วิทยาเขตเกษตรน่าน ตามพระราชบัญญัติ “วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา” พ.ศ. 2518 ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา วิทยาเขตเกษตรน่านได้ก้าวพัฒนาการศึกษาทางด้านอาชีพที่มีคุณภาพทั้งระดับต่ำกว่าปริญญา และ ระดับปริญญา ตลอดจน การวิจัย ส่งเสริมการศึกษาทางด้านวิชาชีพ และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม จนในปี พุทธศักราช 2531 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศวรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ากระหม่อม พระราชทานนามใหม่ว่า “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” กระทั่งในปี พุทธศักราช 2548 จากแนวทางการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ที่มุ่งเน้นการกระจายอำนาจ การบริหารจัดการสู่สถานบันศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อให้สถานศึกษาของรัฐบาลดำเนินการโดยอิสระและมีความคล่องตัวในการบริหารจัดการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลจึงได้ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชงคล ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2548 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตน่าน จึงได้รับการยกฐานะเป็น “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน”
0
วัดกู่คำ
วัดกู่คำ วัดกู่คำ ตั้งอยู่ใกล้สี่แยกสวนศรีเมือง บริเวณหน้า สถานีตำรวจภูธรอำเภอเมืองน่าน มีประวัติอันยาวนานเริ่มจากประมาณ พ.ศ. 2410 นายฮ้อยก่า คำปุก ชาวไทยใหญ่ เมืองเชียงตุง ประเทศพม่า ได้อพยพมาทำมาหากินในเขตจังหวัดน่าน โดยมีอาชีพรับสัมปทานป่าไม้ ซึ่งสมัยนั้นเรียกว่า “นายฮ้อยไม้” นายฮ้อยก่า คำปุก ได้แต่งงานกับแม่ศรีคำ ซึ่งเป็นคนเมืองน่านในสมัยนั้นไม่มีนามสกุลวัดกู่คำ ตั้งอยู่ใกล้สี่แยกสวนศรีเมือง บริเวณหน้า สถานีตำรวจภูธรอำเภอเมืองน่าน มีประวัติอันยาวนานเริ่มจากประมาณ พ.ศ. 2410 นายฮ้อยก่า คำปุก ชาวไทยใหญ่ เมืองเชียงตุง ประเทศพม่า ได้อพยพมาทำมาหากินในเขตจังหวัดน่าน โดยมีอาชีพรับสัมปทานป่าไม้ ซึ่งสมัยนั้นเรียกว่า “นายฮ้อยไม้” นายฮ้อยก่า คำปุก ได้แต่งงานกับแม่ศรีคำ ซึ่งเป็นคนเมืองน่านในสมัยนั้นไม่มีนามสกุล
0
วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร
วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร เป็นอีกหนึ่ง วัดสวย เมืองน่าน ที่น่าแวะไปสักการะค่ะ ซึ่งวัดแห่งนี้ตั้งอยู่กลางเมืองน่าน ตรงข้ามพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน เดิมชื่อวัดหลวงกลางเวียง เป็นวัดที่มีความงดงามมากจริงๆ ใครไปเที่ยวน่าน ไม่ควรพลาดสร้างขึ้นโดยพญาภูเข่ง เจ้าผู้ครองนครเมืองน่าน อายุมากกว่า 600 ปี ประกอบด้วยวิหารขนาดใหญ่ ลักษณะสถาปัตยกรรมแบบล้านนาไทย ลักษณะภายในโอ่โถง ประดิษฐานพระประธานองค์ใหญ่ มีเสาปูนกลมขนาด 2 คนโอบ จำหลัก ลวดลายปูนปั้นนูนสูงเหนือระดับพื้นวิหาร 1.50 เมตร เป็นลวดลายกนกระย้าย้อย เหมือนลวดลายของเสาในวิหารวัดภูมินทร์ ด้านหน้ามีสิงห์คู่ยืนตรงเชิงบันได ภายในวัดยังประดิษฐานเจดีย์ช้างค้ำ ทรงลังกา สูงตระหง่านมีรูปปั้นรูปช้างครึ่งตัวประดับอยู่โดยรอบ ลักษณะเหมือนฐานรองรับไว้ด้านละ 6 เชือก รวมทั้งหมด 24 เชือก เป็นศิลปะที่น่านรับผ่านอาณาจักรสุโขทัย มีความสวยงามเป็นเอกลักษณ์
0
ข่วงเมืองน่าน
ข่วงเมืองน่าน ข่วงเมืองน่าน อยู่ใจกลางเมืองน่าน จังหวัดเล็กๆ ที่น่ารัก และสงบเงียบ ที่ข่วงเมืองน่านมีถนนคนเดินในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ตอนเย็น เป็นสถานที่ยอดนิยมในหมู่นักท่องเที่ยว ถนนคนเดินกาดข่วงเมืองน่าน จัดขึ้นทุกวันศุกร์-เสาร์-อาทิตย์ ของสัปดาห์และตลอดเดือนจะมีการจำหน่ายสินค้า ณ บริเวณถนนผากองด้านข้างวัดภูมินทร์ และจะมีลานข่วงเมืองน่านขนาดใหญ่ ด้านหน้าวัดภูมินทร์ไว้สำหรับบริการนักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปที่ต้องการมาสัมผัสถึงกลิ่นอายวัฒนธรรมของคนเมืองน่านโดยการนั่งรับประทานอาหารแบบขันโตกพื้นเมือง ชมการแสดงทางวัฒนธรรม และจะมีการจำหน่ายสินค้า อาหารพื้นเมือง เสื้อผ้าพื้นเมืองของที่ระลึก ไว้ให้นักท่องเที่ยวเข้ามาลองชิมและเลือกซื้อของฝากกลับบ้าน ถนนคนเดินกาดข่วงเมืองน่านมีจำนวนร้านค้า มาจำหน่ายสินค้า อาหารการกิน จำนวนมากถึง 357 ร้านโดยจะแบ่งออกเป็น 2 โซน คือ โซนอาหาร 160 ร้านและโซนเสื้อผ้า กิ๊ฟช็อป ของที่ระลึก 197 ร้านซึ่งอาหารที่ได้รับการตอบรับดีส่วนมากจะเป็นอาหารพื้นเมือง อาทิ น้ำพริกอ่อง ใส้อั่ว ไกยี แกงฮังเล และแกงแค ส่วนเสื้อผ้าและของที่ระลึกส่วนมากจะเป็นเสื้อผ้าฝ้ายสีดำ สีขาว สิ้นค้าทำมือที่ทำมาจากผ้าฝ้ายก็ได้รับการตอบรับอย่างดีเช่นเดียวกัน ในขณะที่ถนนคนเดินกาดข่วงเมืองน่านแห่งนี้รณรงค์ให้เป็นถนนคนเดินปลอดโฟม เพื่อสิ่งแวดล้อม 100% อีกด้วยนักท่องเที่ยวสามารถเดินเลือกซื้ออาหาร มากมายหลากหลาย ทั้งคาวหวาน อาหารพื้นเมือง ยำรวม ผักผลไม้ น้ำหวาน คั้นจากผลไม้ต่างๆนาๆ จะหาส้มตำแซ่บก็มี หาซื้อเสื้อผ้าพื้นเมือง สำเร็จรูป ของฝากของที่ระลึกจากจังหวัดน่าน และสามารถนำอาหารไปนั่งปูเสื่อฟังเพลง ดนตรีพื้นบ้านโฟล์คซองและเพื่อชีวิต ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันสร้างสีสันในยามค่ำคืน
0
วัดภูมินทร์
วัดภูมินทร์ เป็นวัดที่มีโบสถ์และวิหารสร้างเป็นอาคารหลังเดียวกันประตูไม้ทั้งสี่ทิศ แกะสลักลวดลายโดยช่างฝีมือล้านนาสวยงามมาก นอกจากนี้ฝาผนังยังแสดงถึงชีวิตและวัฒนธรรมของยุคสมัยที่ผ่านมาตามพงศาวดารของเมืองน่าน วัดภูมินทร์สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2139 โดยพระเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ เจ้าผู้ครอง จุดเด่นของวัดอีกอย่างที่เป็นที่เลื่องลือกัน คือภาพจิตรกรรมฝาผนัง หรือ ฮูปแต้ม แสดงเรื่องราวชาดก วิถีชีวิตและตำนานพื้นบ้านของชาวน่านในอดีต ภาพที่มีชื่อเสียงมากคือ ภาพจิตกรรมปู่ม่านย่าม่าน หรือกระซิบรัก ผลงานของหนานบัวผัน จิตรกรพื้นถิ่นเชื้อสายไทลื้อ
0

Your STAMM Book

มาสะสม STAMM เพื่อเก็บบันทึกเรื่องราวดีๆ ระหว่างทางกัน

ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเทศบาลเมืองน่าน

วัดมิ่งเมือง

วัดศรีพันต้น

วัดหัวข่วง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน

คุ้มเจ้าราชบุตร

กำแพงเมืองเก่า น่าน

ตลาดโต้รุ่ง

ข่วงฮังต่อ

วัดช้างเผือก

วัดสการส

วัดมหาโพธิ์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน

พระอนุเสาวรีย์พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช (ค่ายสุริยพงษ์)

โรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา

กาดบ้านเก่าหัวเวียงใต้ (วัดหัวเวียงใต้)

โรงแรมภูคาน่านฟ้า

เฮือนหมอกฟ้า

วัดกู่คำ

วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร

ข่วงเมืองน่าน

วัดภูมินทร์

ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเทศบาลเมืองน่าน

ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเทศบาลเมืองน่าน

ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว (ข่วงน้อย) ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตเมืองเก่าอำเภอเมืองน่าน อยู่ใกล้กับวัดภูมินทร์และลานข่วงเมืองน่าน อยู่ภายใต้การกำกับดูแล ของเทศบาลเมืองน่าน ภายในศูนย์บริการมีร้านกาแฟ ร้านขายสินค้าของฝาก

ที่ตั้ง: 46/1, ถนนผากอง, ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน, 55000 55000
เวลาทำการ: 07.00 - 18.00 น.
ติดต่อ: 054-775169
Facebook: ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเทศบาลเมืองน่าน
Instagram: ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเทศบาลเมืองน่าน
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: สํานักงานการท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดน่าน

#ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเทศบาลเมืองน่าน #ย่านเมืองเก่าสายวัฒนธรรม #จังหวัดน่าน
วัดมิ่งเมือง

วัดมิ่งเมือง

เมืองน่าน มีวัดสีขาว ที่เป็นต้นแบบของวัดร่องขุ่น และเป็นที่ตั้งของ เสาพระหลักเมืองน่าน เดิมเป็นวัดร้าง มีเสาหลักเมืองที่เป็นท่อนซุงขนาดใหญ่สองคนโอบ พบที่ซากวิหาร ในราวปี 2400 เจ้าอนันตวรฤทธิเดช เจ้าครองนครน่านสถาปนาวัด ใหม่ ตั้งชื่อว่า วัดมิ่งเมือง ตามชื่อที่เรียกเสาหลักเมืองว่า เสามิ่งเมือง และหากได้มีโอกาสไปเยือนเมืองน่าน ควรหาเวลาไปสักการะเสาพระหลักเมืองน่าน เพื่อเป็นศิริมงคลและคุ้มครองให้การเดินทางครั้งนี้ประสบความสำเร็จและปลอดภัยตลอดการเดินทาง โดยการสักการะเสาพระหลักเมืองน่านนั้นให้สักการะทั้ง 4 ทิศ โดยเริ่มจาก ทิศเหนือ ทิศตะวันออก ทิศใต้ และทิศตะวันตก โดยแต่ละทิศจะมีอุดมมงคลดังนี้ คือ ทิศเหนือ คือพระเมตตา ทิศตะวันออก คือพระกรุณา ทิศใต้ คือพระมุทิตา และ ทิศตะวันตก คือพระอุเบกขา

ที่ตั้ง: 52 ถนน สุริยพงษ์ ตำบล ในเวียง อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 06:00–18:00 น.
ติดต่อ: 093-2496443
Facebook: วัดมิ่งเมือง
Instagram: วัดมิ่งเมือง
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: ปักหมุดเมืองไทย

#วัดมิ่งเมือง #จังหวัดน่าน #ต้นแบบของวัดร่องขุ่น
วัดมิ่งเมือง
วัดมิ่งเมือง ในบรรดาวัดสวยของจังหวัดน่าน วัดมิ่งเมือง เป็นอีกหนึ่งวัดที่ขึ้นชื่อเรื่องความสวยงามและเป็นเอกลักษณ์ รวมถึงเป็นที่ตั้งของ เสาพระหลักเมืองน่าน ที่ใครไปเที่ยวน่าน ต้องไปไหว้สักการะเพื่อความเป็นสิริมงคล บริเวณด้านหน้าพระอุโบสถของวัดมิ่งเมือง เป็นที่ตั้งของ เสาพระหลักเมืองน่าน (แต่เดิมเรียก เสามิ่งเมือง) ซึ่งประดิษฐานอยู่ในศาลาจตุรมุขสีขาวที่มีลวดลายปูนปั้นวิจิตรงดงาม มียอดพรหมสี่หน้าเป็นตัวอาคาร เสาหลักเมืองมีความสูงประมาณ 3 เมตร ฐานประดับด้วยไม้แกะลวดลายลงรักปิดทอง ยอดเสาแกะสลักเป็นรูปพระพรหมพักตร์มีชื่อ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ข้อมูลจาก : https://travel.trueid.net/detail/JNnPvo9M9YJ
0
วัดศรีพันต้น

วัดศรีพันต้น

วัดศรีพันต้น ตั้งอยู่ที่ ถนนเจ้าฟ้า อำเภอเมืองน่าน ภายในวัดมีวิหารที่สวยงาม ตั้งเด่นเป็นสง่ามีสีทองระยิบระยับ เป็นอีกวัดหนึ่งในจังหวัดน่าน ที่มีจิตรกรรมปูนปั้นที่สวยงามโดยเฉพาะพญานาคเจ็ดเศียร เฝ้าบันไดหน้าวิหารวัดสีทองเหลืองอร่ามสวยงามตระการตา ดูอ่อนโยนมีชีวิตชีวา ซึ่งปั้นแต่งโดยช่าง ชาวน่านชื่อ นายอนุรักษ์ สมศักดิ์ หรือ สล่ารง และภายในวิหารได้มีการเขียนภาพลายเส้นประวัติของพระพุทธเจ้า และประวัติ การกำเนิด เมืองน่าน โดยช่างชาวน่าน เป็นภาพเขียนลายเส้นลงสีธรรมชาติสวยงามและทรงคุณค่าอย่างยิ่ง สร้างโดยพญาพันต้น เจ้าผู้ครองนครน่าน แห่งราชวงศ์ภูคา ชื่อวัดตรงกับนามผู้สร้าง คือพญาพันต้น

ที่ตั้ง: ถนน เจ้าฟ้า ตำบล ในเวียง อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 08:00 - 16:00 น.
ติดต่อ: 054-773128
Facebook: วัดศรีพันต้น
Instagram: วัดศรีพันต้น
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: Hello ล้านนา

#วัดศรีพันต้น #จังหวัดน่าน #ย่านเมืองเก่าสายวัฒนธรรม
วัดศรีพันต้น
วัดศรีพันต้น วัดศรีพันต้น ตั้งอยู่ที่ ถนนเจ้าฟ้า อำเภอเมืองน่าน ภายในวัดมีวิหารที่สวยงาม ตั้งเด่นเป็นสง่ามีสีทองระยิบระยับ เป็นอีกวัดหนึ่งในจังหวัดน่าน ที่มีจิตรกรรมปูนปั้นที่สวยงามโดยเฉพาะพญานาคเจ็ดเศียร เฝ้าบันไดหน้าวิหารวัดสีทองเหลืองอร่ามสวยงามตระการตา ดูอ่อนโยนมีชีวิตชีวา ซึ่งปั้นแต่งโดยช่าง ชาวน่านชื่อ นายอนุรักษ์ สมศักดิ์ หรือ สล่ารง และภายในวิหารได้มีการเขียนภาพลายเส้นประวัติของพระพุทธเจ้า และประวัติ การกำเนิด เมืองน่าน โดยช่างชาวน่าน เป็นภาพเขียนลายเส้นลงสีธรรมชาติสวยงามและทรงคุณค่าอย่างยิ่ง สร้างโดยพญาพันต้น เจ้าผู้ครองนครน่าน แห่งราชวงศ์ภูคา ชื่อวัดตรงกับนามผู้สร้าง คือพญาพันต้น
0
วัดหัวข่วง

วัดหัวข่วง

วัดหัวข่วง เป็นวัดที่อยู่ใจกลางเมือง ภายในวัด มีจิตรกรรมฝาผนังเป็นรูปพระพุทธเจ้านั่งใต้ต้นโพธิ์ภายในพระวิหาร มีพระพุทธรูปปางมารวิชัย ลักษณะพุทธศิลป์แบบท้องถิ่นล้านนา สกุลช่างเมืองน่าน ฝีมือประณีตงดงาม และ เจดีย์วัดหัวข่วง ทรงปราสาทหรือทรงเรือนธาตุ ได้รับอิทธิพลศิลปะล้านนา ประกอบด้วย ส่วนฐานสร้างเป็นสี่เหลี่ยมฐานปทม ประดับด้วยลูกแก้วสองชั้น มีฐานไม้ คั่นกลาง ฐานบัวลูกแก้วชั้นบนย่อมุม รับกับเรือนธาตุไปจรดชั้นบัวถลาใต้องค์ระฆัง ส่วนเรือนธาตุมีซุ้มจรนัมด้านละซุ้ม ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยสำริด ประดับมุมด้วยรูปเทวดาทรงเครื่องยืนพนมมือ เรือนธาตุเป็นชั้นบัวถลาซ้อนกันสามชั้น ยอดขององค์เจดีย์เป็นทรงระฆังมีขนาดเล็กไม่มีบัลลังก์ สันนิษฐานว่าเป็นศิลปะที่ดัดแปลงตามแบบของช่างเมืองน่าน มีอายุระหว่างสมัยล้านนาตอนปลาย นอกจากนี้ยังมี หอไตรเก่าแก่ ลักษณะเป็นอาคารทรงสี่เหลี่ยมจตุรมุข ใต้ถุนก่อทึบ คล้ายวิหาร เป็นสถานที่เก็บพระไตรปิฏก และคำภีร์โบราณ ที่มีอายุหลายปี ตั้งแต่สมัยก่อสร้างวัดอีกด้วย

ที่ตั้ง: ตำบล ในเวียง อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 08:00 - 20:00 น.
ติดต่อ: 090-7510629
Facebook: วัดหัวข่วง
Instagram: วัดหัวข่วง
ขอบคุณที่มา: www.emagtravel.com
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: Baanboon Channel

#วัดหัวข่วง #จังหวัดภูเก็ต #ย่านเมืองเก่าสายวัฒนธรรม
วัดหัวข่วง
วัดหัวข่วง วัดหัวข่วง เป็นวัดที่อยู่ใจกลางเมือง ภายในวัด มีจิตรกรรมฝาผนังเป็นรูปพระพุทธเจ้านั่งใต้ต้นโพธิ์ภายในพระวิหาร มีพระพุทธรูปปางมารวิชัย ลักษณะพุทธศิลป์แบบท้องถิ่นล้านนา สกุลช่างเมืองน่าน ฝีมือประณีตงดงาม และ เจดีย์วัดหัวข่วง ทรงปราสาทหรือทรงเรือนธาตุ ได้รับอิทธิพลศิลปะล้านนา ประกอบด้วย ส่วนฐานสร้างเป็นสี่เหลี่ยมฐานปทม ประดับด้วยลูกแก้วสองชั้น มีฐานไม้ คั่นกลาง ฐานบัวลูกแก้วชั้นบนย่อมุม รับกับเรือนธาตุไปจรดชั้นบัวถลาใต้องค์ระฆัง ส่วนเรือนธาตุมีซุ้มจรนัมด้านละซุ้ม ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยสำริด ประดับมุมด้วยรูปเทวดาทรงเครื่องยืนพนมมือ เรือนธาตุเป็นชั้นบัวถลาซ้อนกันสามชั้น ยอดขององค์เจดีย์เป็นทรงระฆังมีขนาดเล็กไม่มีบัลลังก์ สันนิษฐานว่าเป็นศิลปะที่ดัดแปลงตามแบบของช่างเมืองน่าน มีอายุระหว่างสมัยล้านนาตอนปลาย นอกจากนี้ยังมี หอไตรเก่าแก่ ลักษณะเป็นอาคารทรงสี่เหลี่ยมจตุรมุข ใต้ถุนก่อทึบ คล้ายวิหาร เป็นสถานที่เก็บพระไตรปิฏก และคำภีร์โบราณ ที่มีอายุหลายปี ตั้งแต่สมัยก่อสร้างวัดอีกด้วย
0
พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติน่าน

พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติน่าน

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติประจำจังหวัดน่าน ตั้งอยู่ในบริเวณคุ้มของอดีตเจ้าผู้ครองนครน่าน ถนนผากอง ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน มีพื้นที่ทั้งสิ้น 14 ไร่ 2 งาน 32 ตารางวา รายล้อมด้วยถนนที่สำคัญได้แก่ ถนนผากองด้านทิศตะวันออก ถนนสุริยพงษ์ด้านทิศใต้ และถนนมหาพรหมด้านทิศเหนือ อาคารพิพิธภัณฑ์เดิมเป็นหอคำที่พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ พระเจ้าน่านทรงสร้างขึ้นเป็นที่ประทับ เมื่อพุทธศักราช 2446 เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนสองชั้น แบบตรีมุขหรือรูปตัวที รูปแบบผสมผสานระหว่างแบบศิลปะตะวันตกและศิลปะไทย โครงสร้างภายในเป็นไม้ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีมุขออกด้านหน้า หลังคามุงด้วยไม้แป้นเกล็ด เมื่อเจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองนครน่านองค์สุดท้ายถึงพิราลัย เจ้านายบุตรหลานของเจ้าผู้ครองนครน่านจึงไม้มอบหอคำหลังนี้พร้อมที่ดินทั้งหมดให้แก่รัฐบาล เพื่อใช้เป็นศาลากลางจังหวัดน่าน ปีพุทธศักราช 2475 ต่อมาเมื่อกระทรวงมหาดไทยได้ก่อสร้างศาลากลางจังหวัดขึ้นใหม่ กรมศิลปากรจึงได้ขอรับมอบอาคารหอคำ เพื่อให้เป็นสถานที่จัดตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ขึ้นในปีพุทธศักราช 2517 และประกาศจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ขึ้นในปีพุทธศักราช 2528 อย่างเป็นทางการ ภายหลังการจัดแสดงเสร็จสมบูรณ์แล้ว สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานประกอบพิธีเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ให้ประชาชนเข้าชมอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พุทธศักราช 2530

ที่ตั้ง: 42 ถนน สุริยพงษ์ ตำบล ผาสิงห์ อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: เปิดบริการวันพุธ - วันอาทิตย์ (ปิดวันจันทร์-อังคาร) เวลา 09.00 - 16.00 น.
ติดต่อ: 054-710561
Website: พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติน่าน
Facebook: พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติน่าน
Instagram: พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติน่าน
ขอบคุณที่มา: www.museumthailand.com
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: krajokhokdan

#พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน #จังหวัดน่าน #แหล่งรวบรวมประวัติศาสตร์
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติประจำจังหวัดน่าน ตั้งอยู่ในบริเวณคุ้มของอดีตเจ้าผู้ครองนครน่าน เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนสองชั้น แบบตรีมุขหรือรูปตัวที รูปแบบผสมผสานระหว่างแบบศิลปะตะวันตกและศิลปะไทย โครงสร้างภายในเป็นไม้ หลังคามุงด้วยไม้แป้นเกล็ด ภายในแบ่งส่วนการจัดแสดงเป็น 2 ชั้น คือ ชั้นบน จัดแสดงเกี่ยวกับเรื่องโบราณคดีและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น แบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ห้องโถงใหญ่ เคยเป็นท้องพระโรงสำหรับเสด็จออกว่าราชการของเจ้าผู้ครองนคร จัดแสดงข้อมูลทางภูมิรัฐศาสตร์ของจังหวัดน่าน การสร้างบ้านแปงเมือง หลักฐานศิลาจารึก ลำดับเชื้อสายของเจ้าผู้ครองนคร เครื่องใช้ส่วนพระองค์ ภาพถ่ายโบราณ เงินตราและอาวุธ ถัดไปเป็น ห้องปีกอาคารและเฉลียง จัดแสดงเรื่องราวด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์ศิลปะ และห้องจัดแสดงงาช้างดำ ซึ่งเป็นสมบัติล้ำค่าคู่บ้านคู่เมืองน่านมาแต่โบราณชั้นล่างจะแสดงเรื่องราวด้านชาติพันธุ์วิทยา เกี่ยวกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของภาคเหนือ ส่วนเฉลียงด้านหลังและปีกอาคาร จัดแสดงเรื่องราวชีวิตความเป็นอยู่ของเผ่าชนต่างๆ ในจังหวัดน่าน
0
คุ้มเจ้าราชบุตร

คุ้มเจ้าราชบุตร

คุ้มเจ้าราชบุตรหรือโฮงเจ้าราชบุตร (โฮงหมายถึงโรงเรือนที่อยู่อาศัยของเจ้านายและบุตรหลาน) ตั้งอยู่หัวมุมระหว่างถนนผากองกับถนนมหาพรหมด้านทิศเหนือของวัดพระธาตุช้างค้ำ เจ้าอนันตวรฤทธิเดชได้สร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ.2409 เพื่อเป็นที่อยู่ของเจ้าน้อยมหาพรหมณน่านและชายาคือแม่เจ้าศรีโสภาต่อมาเมื่อท่านได้รับสถาปนาเป็นเจ้ามหาพรหมสุรธาดาเจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่64 จึงย้ายไปประทับที่หอคำและยกคุ้มแห่งนี้ให้บุตรชายคือเจ้าประพันธ์พงศ์ (เจ้าน้อยหมอกฟ้าณน่าน)ซึ่งต่อมาได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าราชบุตรในปีพ.ศ.2468

ที่ตั้ง: มหาพรหม ตำบล ผาสิงห์ อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 08:30 - 16:30 น.
ติดต่อ: 089-6704291
Instagram: คุ้มเจ้าราชบุตร
ขอบคุณที่มา: www.praew.com
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: คุ้มเจ้าราชบุตร หมอกฟ้า ณ น่าน

#คุ้มเจ้าราชบุตร #จังหวัดน่าน #แหล่งประวัติศาสตร์
กำแพงเมืองเก่า

กำแพงเมืองเก่า

กำแพงเมืองเก่าน่าน แห่งนี้ ถือได้ว่าเป็นแหล่งโบราณสถาน ที่สำคัญของ จังหวัดน่าน เลยก็ว่าได้ค่ะ เพราะเป็นหลักฐานที่แสดงถึงประวัติศาสตร์ ความมั่นคงของรัฐเล็กๆ ในอดีต ที่อยู่ในลุ่มแม่น้ำน่านนี้เลย สามารถปกครองตนเองได้ แม้ว่าจะต้องยอมอ่อนน้อมต่อหัวเมืองอื่นหลายต่อหลายครั้งก็ตาม แต่เมืองน่าน ก็ยังคงรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเองเอาไว้ได้

ที่ตั้ง: ถนนมหาวงศ์ ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน
เวลาทำการ: เปิด 24 ชั่วโมง
ติดต่อ: 054-710561
Instagram: กำแพงเมืองเก่า
ขอบคุณที่มา: www.travel.trueid.net
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: Ploy JK

#กำแพงเมืองเก่า #แหล่งประวัติศาสตร์ #จังหวัดน่าน
ตลาดโต้รุ่ง

ตลาดโต้รุ่ง

ตลาดโต้รุ่งกลางคืนนี้จะเป็นลักษณะร้านค้าทั้งแบบเต็นท์และแบบห้องแถวอยู่ 2 ข้างของถนน สามารถสังเกตได้อย่างง่ายดายเพราะจะมีไฟสว่างและรถมอเตอร์ไซค์จอดรอบข้าง ตัวอย่างอาหารที่ขาย ได้แก่ ร้านอาหารตามสั่ง ซึ่งจะมีที่นั่งแบบโต๊ะด้านหลัง ร้านน้ำปั่นหลายแบบ ช่วงนี้จะมีน้ำปั่น avocado ผสมกับนมสด น้ำมะพร้าวปั่นนมสด นมหมีปั่น นมสดปั่น เป็นต้น ร้าน sushi แบบหยิบแล้วจ่ายเงิน ร้านขายข้าวมันไก่ ข้าวขาหมู อาหารอีสาน หากอยากกินของทอด เช่น หมูมะแขว่น ซึ่งเป็นหมูทอดผสมเครื่องเทศก็มีขาย ไก่ทอดหาดใหญ่ก็มี และลูกชิ้นทอด หรือคอหมูย่าง ก็ลองแวะมาเดินเที่ยวหาของกินกันได้ 

ที่ตั้ง: 110 อนันตวรฤทธิเดช ตำบล ผาสิงห์ อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 10.00–11.00 น.
ติดต่อ: 054-710234
Instagram: ตลาดโต้รุ่ง
ขอบคุณที่มาและรูปภาพ: www.th.worldorgs.com
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: เกษตรน่าน ผ่านเลนส์-Nan Agri thruLens

#ตลาดโต้รุ่ง #จังหวัดน่าน #ย่านชุมชน
ข่วงฮังต่อ

ข่วงฮังต่อ

ข่วงฮังต่อ เป็นแหล่งรวมของร้านอาหาร ร้านกาแฟ และบริการสินค้า ของฝาก มีที่จอดรถติดถนนใหญ่ อยู่ใกล้สนามบิน

ที่ตั้ง: 242/6 ถนนมหายศ ตำบล ในเวียง เมือง น่าน 55000
เวลาทำการ: 11.00-22.00 น.
ติดต่อ: 091-8525474
Facebook: ข่วงฮังต่อ
Instagram: ข่วงฮังต่อ
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: didee D

#ข่วงฮังต่อ #แหล่งรวมร้านอาหาร ร้านกาแฟ #จังหวัดน่าน
วัดช้างเผือก

วัดช้างเผือก

วัดช้างเผือกเป็นวัดที่เก่าแก่วัดหนึ่งในจังหวัดน่าน สร้างขึ้นในสมัยเจ้าผู้ครองนครน่านซึ่งขณะนั้นได้ตั้งตัวจังหวัดขึ้นที่ตำบลนี้ (ตำบลเวียงเหนือ) บริเวณที่ตั้งวัด สมัยนั้นเป็นสถานที่เลี้ยง และฝึกช่างของเจ้าครองนครเรียกกันว่า "คงเพนียด" มีบ้านเรือนเจ้านาย และบรรดาข้าราชการอยู่หนาแน่น จึงได้พร้อมใจกันสร้างวัดขึ้นยังไม่ทันเสร็จ ก็บังเอิญได้มีช้างพังเชือกหนึ่งตกลูกออกมาเป็นช้างเผือก มีลักษณะถูกต้องตามคชลักษณ์ทุกประการ เป็นที่ปลื้มปิติโสมนัสยิ่งนักที่ได้มีช้างเผือกเกิดมาคู่บารมี เจ้าผู้ครองนครจึงได้ให้ชื่อวัดที่กำลังสร้างอยู่นั้นว่า "วัดช้างเผือก" และตั้งชื่อหมู่บ้านว่า "บ้านช้างเผือก"

ที่ตั้ง: 89 มหาพรหม ตำบล ผาสิงห์ อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 17:00-03:00 น.
ติดต่อ: 054-710936
Instagram: วัดช้างเผือก

#วัดช้างเผือก #จังหวัดน่าน #แหล่งประวัติศาสตร์
วัดสการส

วัดสการส

เป็นวัดที่ความงดงาม เงียบสงบ อยู่ใกล้กับสนามบินน่าน วัดนี้มีประวัติยาวนานเกี่ยวพันกับเมืองน่าน โดยในปี พ.ศ. 2360 เกิดน้ำท่วมครั้งใหญ่ น้ำในแม่น้ำน่านไหลเข้าสู่ตัวเมืองน่านด้วยความแรงและเชี่ยว น้ำได้พัดพากำแพงเมืองทางด้านทิศตะวันตกพังทลายลงทั้งแถบ บ้านเรือนพังทลายเกือบหมด วัดวาอารามในนครน่านหักพังเป็นอันมาก พญาสุมนเทวราช เจ้าผู้ครองนครน่าน จึงได้ย้ายเมืองไปอยู่บริเวณป่า "ดงพระเนตรช้าง" ซึ่งเป็นที่ดอนน้ำท่วมไม่ถึง โดยไปตั้งเมืองใหม่อยู่ทางทิศเหนือของเมืองเดิม ใช้เวลาสร้าง 6 เดือน จึงแล้วเสร็จ เรียกว่า "เวียงเหนือ" ห่างจากเวียงใต้ประมาณ 2 กิโลเมตรและเป็นวัดหลวงของเขตเวียงเหนือในปัจจุบัน เพราะเป็นเพียงวัดเดียวในเวียงเหนือที่มีพระธาตุเจดีย์ จึงสันนิษฐานว่าวัดแห่งนี้เดิมต้องเป็นวัดหลวง ศูนย์กลางนครน่าน อยู่ที่เวียงเหนือสืบกันมาได้ 36 ปี จนเมื่อปี พ.ศ. 2397 ในสมัยของเจ้าอนันตวรฤิทธิเดชฯ ผู้ครองนครน่าน จึงได้ย้ายเมืองมาอยู่ ณ เวียงใต้ดังเดิม

ที่ตั้ง: 3 ถนน มหายศ ตำบล ในเวียง อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 17:00-03:00 น.
ติดต่อ: 089-9975481
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: วัดสการส

#วัดสการส #แหล่งประวัติศาสตร์ #จังหวัดน่าน
วัดมหาโพธิ์

วัดมหาโพธิ์

นั่งรถรางเที่ยวรอบเมือง ไกด์พาแวะลงชมสถานที่ไม่กี่แห่ง หนึ่งในนั้นคือวัดมหาโพธิ์ ซึ่งมีบรรดาสาวและหนุ่มเหลือน้อยหลายท่าน คอยให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น เนื่องจากวัดมหาโพธิ์สนับสนุนให้ผู้สูงวัยใช้สถานที่ของวัดรวมตัวกันจัดกลุ่มเป็นชมรมผู้สูงวัย คอยต้อนรับนักท่องเที่ยว ด้วยการเสิร์ฟน้ำสมุนไพรที่มีทั้งร้อนและเย็น พร้อมทั้งนำสินค้าพื้นเมือง หรืองานฝีมือของตนเอง มาวางจำหน่าย เป็นการเพิ่มรายได้ และทำให้ผู้สูงวัยมีกิจกรรมทำ ไม่เหงา มีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ นับเป็นโครงการที่ดีโครงการหนึ่งของจังหวัด วัดนี้น่าสนใจเพราะมีพระพุทธรูปไม้โบราณให้กราบไหว้และชมความงามอันล้ำค่า เรียกว่าเป็นหนึ่งในไฮไลท์ของจังหวัดน่านก็ว่าได้

ที่ตั้ง: 8 ถนน มหายศ ตำบล ในเวียง อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 06:00 -17:00 น.
ติดต่อ: 081-0234452
Facebook: วัดมหาโพธิ์
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: CitizenThaiPBS

#วัดมหาโพธิ์ #จังหวัดน่าน #พระพุทธรูปไม้โบราณ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน

จากโรงเรียนเกษตรกรรมสู่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลน่าน 82 ปี สถาบันแห่งการเรียนรู้ โรงเรียนเกษตรกรรมน่าน ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พุทธศักราช 2481 ซึ่งในขณะนั้นนโยบายการศึกษาของรัฐบาลในสมัยนั้นได้กำหนดให้มีการศึกษาวิชาชีพซึ่งจัดให้เหมาะสมกับภูมิประเภท เช่น กสิกรรม หัตถกรรม และพาณิชการ เพื่อเป็นพื้นฐานความรู้สำหรับประกอบการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ต่างๆ ต่อมาเมื่อระบบการศึกษามีการพัฒนาขึ้นทั้งบุคลากร ครู เครื่องมือ อุปกรณ์ อาคารสถานที่ ในปี พุทธศักราช 2517 โรงเรียนเกษตรกรรมน่านจึงได้รับการยกฐานะให้เป็นวิทยาลัยเกษตรกรรม พุทธศักราช 2518 วิทยาลัยเกษตรกรรม ได้แยกตัวจากกรมอาชีวศึกษา และจัดตั้งเป็นวิทยาลัยเทคโนโลยี และอาชีวศึกษา วิทยาเขตเกษตรน่าน ตามพระราชบัญญัติ “วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา” พ.ศ. 2518 ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา วิทยาเขตเกษตรน่านได้ก้าวพัฒนาการศึกษาทางด้านอาชีพที่มีคุณภาพทั้งระดับต่ำกว่าปริญญา และ ระดับปริญญา ตลอดจน การวิจัย ส่งเสริมการศึกษาทางด้านวิชาชีพ และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม จนในปี พุทธศักราช 2531 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศวรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ากระหม่อม พระราชทานนามใหม่ว่า “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” กระทั่งในปี พุทธศักราช 2548 จากแนวทางการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ที่มุ่งเน้นการกระจายอำนาจ การบริหารจัดการสู่สถานบันศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อให้สถานศึกษาของรัฐบาลดำเนินการโดยอิสระและมีความคล่องตัวในการบริหารจัดการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลจึงได้ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชงคล ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2548 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตน่าน จึงได้รับการยกฐานะเป็น “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน”

ที่ตั้ง: 59 หมู่ 13 ตำบลฝายแก้ว อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน 55000
เวลาทำการ: 08:00 - 16:30 น.
ติดต่อ: 054-710259
Website: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
Facebook: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
Instagram:มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
ขอบคุณที่มา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: Teddy Boat

#มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน #จังหวัดน่าน #แหล่งเรียนรู้พื้นฐานฃสำหรับประกอบการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน จากโรงเรียนเกษตรกรรมสู่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลน่าน 82 ปี สถาบันแห่งการเรียนรู้ โรงเรียนเกษตรกรรมน่าน ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พุทธศักราช 2481 ซึ่งในขณะนั้นนโยบายการศึกษาของรัฐบาลในสมัยนั้นได้กำหนดให้มีการศึกษาวิชาชีพซึ่งจัดให้เหมาะสมกับภูมิประเภท เช่น กสิกรรม หัตถกรรม และพาณิชการ เพื่อเป็นพื้นฐานความรู้สำหรับประกอบการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ต่างๆ ต่อมาเมื่อระบบการศึกษามีการพัฒนาขึ้นทั้งบุคลากร ครู เครื่องมือ อุปกรณ์ อาคารสถานที่ ในปี พุทธศักราช 2517 โรงเรียนเกษตรกรรมน่านจึงได้รับการยกฐานะให้เป็นวิทยาลัยเกษตรกรรม พุทธศักราช 2518 วิทยาลัยเกษตรกรรม ได้แยกตัวจากกรมอาชีวศึกษา และจัดตั้งเป็นวิทยาลัยเทคโนโลยี และอาชีวศึกษา วิทยาเขตเกษตรน่าน ตามพระราชบัญญัติ “วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา” พ.ศ. 2518 ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา วิทยาเขตเกษตรน่านได้ก้าวพัฒนาการศึกษาทางด้านอาชีพที่มีคุณภาพทั้งระดับต่ำกว่าปริญญา และ ระดับปริญญา ตลอดจน การวิจัย ส่งเสริมการศึกษาทางด้านวิชาชีพ และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม จนในปี พุทธศักราช 2531 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศวรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ากระหม่อม พระราชทานนามใหม่ว่า “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” กระทั่งในปี พุทธศักราช 2548 จากแนวทางการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ที่มุ่งเน้นการกระจายอำนาจ การบริหารจัดการสู่สถานบันศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อให้สถานศึกษาของรัฐบาลดำเนินการโดยอิสระและมีความคล่องตัวในการบริหารจัดการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลจึงได้ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชงคล ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2548 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตน่าน จึงได้รับการยกฐานะเป็น “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน”
0
พระอนุเสาวรีย์พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช (ค่ายสุริยพงษ์)

พระอนุเสาวรีย์พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช (ค่ายสุริยพงษ์)

อนุสาวรีย์พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ สร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ. ๒๕๒๓ โดยการริเริ่มของกลุ่มลูกเสือชาวบ้าน ซึ่งมีแนวคิดว่าจะสร้างอนุสาวรีย์เพื่อระลึกถึงพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ ไว้ด้านหน้าอาคารคุ้มหลวงซึ่งหลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองในปีพ.ศ.๒๔๗๕ ได้ถูกปรับใช้เป็นอาคารศาลากลางจังหวัด และบริเวณโดยรอบได้ใช้เป็นที่ทำการของหน่วยงานราชการต่างๆ เช่น อำเภอเมืองน่าน ที่ดินจังหวัด สำนักงานของกาชาดจังหวัด เป็นต้น

ที่ตั้ง: 1169 ฝายแก้ว ภูเพียง น่าน 55000
เวลาทำการ: 08:00 - 16:30 น.
ติดต่อ: 054-773035
Website: พระอนุเสาวรีย์พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช (ค่ายสุริยพงษ์)
Facebook: พระอนุเสาวรีย์พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช (ค่ายสุริยพงษ์)
ขอบคุณที่มา: www.nan.rmutl.ac.th
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: บุญยงค์ ฅนข่าว

#พระอนุเสาวรีย์พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช (ค่ายสุริยพงษ์) #จังหวัดน่าน #แหล่งความเชื่อและศรัทธา
โรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา

โรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา

โรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา ได้เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ.2447 ณ บ้านพักมิชชันนารี บ้านดอนเชียงยืน ถนนมะโน อำเภอเมือง จังหวัดน่าน โดยมี ดร.ซามูเอล ซี พีเพิล ดำเนินการในลักษณะของโรงสอน ต่อมา ดร.ฮิวจ์ เทเลอร์ และครอบครัวย้ายมาจากจังหวัดลำปางท่านได้รวบรวมทรัพย์จากการบริจาคของญาติ พี่น้องมิตรสหายในประเทศสหรัฐอเมริกา นำมาสร้างโรงเรียน ที่ถนนสุมนเทวราช เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2450 ให้ชื่อว่า “โรงเรียนลินกัล์นอะแคเดมี่” รับเฉพาะนักเรียนชาย ส่วนนักเรียนหญิง เรียนที่บ้านพักมิชชันนารีที่ถนนรังสีเกษม ต่อมา ดร.ฮิวจ์ เทเลอร์ได้ร่วมมือกับมิสลูซี่ สตาร์ลิง สร้างอาคารหลังแรกขึ้นระหว่างปี พ.ศ.2453-2458 ที่บ้านดอนแก้ว ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน ขนานนามว่า”โรงเรียนรังษีเกษม” ตามพระนามของพระองค์เจ้าภาณุรังษี รับเฉพาะนักเรียนหญิง ใน ปี พ.ศ.2511 ทางกองการศึกษา มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทยโดย ดร.คอนรัด คิงส์ฮิวส์ เป็นผู้รวมกิจการโรงเรียนลินกัล์นอะแคเดมี่ และโรงเรียนรังสีเกษมเข้าด้วยกัน ตั้งชื่อว่า “โรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา” ปัจจุบันเขตรังษีเกษมเป็นสถานที่เรียนระดับประถมศึกษา เขตลินกัล์นอะแคเดมี่ เป็นสถานที่เรียนระดับมัธยมศึกษา และปฐมวัย เขตนารินใช้เป็สนามกีฬาและสระว่ายน้ำ

ที่ตั้ง: 82 ถนน สุมนเทวราช ซอย 1 ตำบล ในเวียง อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 08:00-17:00 น.
ติดต่อ: 054-710306
Website: โรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา
Facebook: โรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา
Instagram:โรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา
ขอบคุณที่มา: โรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: Manphoto Inspiretion

#โรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา #จังหวัดน่าน #แหล่งการศึกษาชุมชน
กาดบ้านเก่าหัวเวียงใต้

กาดบ้านเก่าหัวเวียงใต้

ถนนคนเดินเมืองน่าน จัดขึ้นที่บริเวณหน้า วัดหัวเวียงใต้ ถนนสุมนเทวราช ต.ในเวียง อ.เมืองน่าน ยาวไปจนถึง สามแยกสวนตาล ตั้งแต่ 5 โมงเย็นถึง 3 ทุ่ม ทุกวันเสาร์ โดยจะเปิดถนนเส้นหลัก แล้วตั้งโต๊ะขายของกันทั้ง 2 ข้างทาง และกลางถนน โดยโซนด้านหน้าวัดจะกันพื้นที่ไว้สำหรับตั้งโต๊ะขันโตก ใครเข้ามาเที่ยวงานจะซื้ออาหารมานั่งรับประทานกันได้แถวนี้ นั่งกับพื้น ดูรำไทยและฟ้อนแง้น จากนักศึกษาที่มาแสดงโชว์ แสะผลัดเปลี่ยนกันไปแต่ละชุด

ที่ตั้ง: 307 สุมนเทวราช ตำบล ในเวียง อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 17.00-22.00 น.
ติดต่อ: 054-771655, 054-750158
Facebook: กาดบ้านเก่าหัวเวียงใต้
ขอบคุณที่มา: www.komchadluek.net
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: Print Media

#กาดบ้านเก่าหัวเวียงใต้ #ย่านวัฒนธรรมและวิถีชุมชน #จังหวัดน่าน
โรงแรมภูคาน่านฟ้า

โรงแรมภูคาน่านฟ้า

ภูคาน่านฟ้า เป็นชื่อของโรงแรมเล็กๆ ที่ตั้งอยู่ในใจกลางเมืองน่าน ที่นี่มีตำนาน เริ่มต้นร่วม 80 ปีมาแล้ว เป็นอาคารที่สร้างด้วยไม้สัก สูงสามชั้น มีห้องพักสิบสี่ห้อง โรงแรมพูคาน่านฟ้าผ่านการปรับปรุงครั้งใหญ่ มาเป็นโรงแรมบรรยากาศร่วมสมัย สะดวกสบาย ในสิ่งแวดล้อม วันนี้ เรามีความพร้อมที่จะบริการผู้มาเยือนให้ได้รับความสุขกาย สบายใจ กับการเดินทางมาถึงเมืองน่าน นันทบุรี นครแสนไกลที่มีเสน่ห์แห่งลานนาตะวันออก

ที่ตั้ง: 369 สุมนเทวราช ตำบล ในเวียง อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 14.00 - 00.00 น.
ติดต่อ: 054-771111
Website: โรงแรมภูคาน่านฟ้า
Facebook: โรงแรมภูคาน่านฟ้า
Instagram:โรงแรมภูคาน่านฟ้า
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: Ploy JK

#โรงแรมภูคาน่านฟ้า #จังหวัดน่าน #ที่พักใจกลางเมือง
เฮือนหมอกฟ้า

เฮือนหมอกฟ้า

เป็นอาคารไม้ชั้นเดียวใต้ถุนสูงทรงปั้นหยาหลังคา สังกะสีเดิมเป็นอาคารพยาบาลของกองกำกับการตำรวจ ปัจจุบันใช้เป็นหอประชุมตำรวจภูธร จังหวัดน่าน มีการเปลี่ยนแปลงด้านในอาคารเป็นห้องประชุม และด้านล่างดัดแปลงเป็นห้องทำงาน

ที่ตั้ง: 5 ถนน มหายศ ตำบล ในเวียง อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
ขอบคุณที่มา: www.sites.google.com

#เฮือนหมอกฟ้า #ย่านประวัติศาสตร์ #จังหวัดน่าน
วัดกู่คำ

วัดกู่คำ

วัดกู่คำ ตั้งอยู่ใกล้สี่แยกสวนศรีเมือง บริเวณหน้า สถานีตำรวจภูธรอำเภอเมืองน่าน มีประวัติอันยาวนานเริ่มจากประมาณ พ.ศ. 2410 นายฮ้อยก่า คำปุก ชาวไทยใหญ่ เมืองเชียงตุง ประเทศพม่า ได้อพยพมาทำมาหากินในเขตจังหวัดน่าน โดยมีอาชีพรับสัมปทานป่าไม้ ซึ่งสมัยนั้นเรียกว่า “นายฮ้อยไม้” นายฮ้อยก่า คำปุก ได้แต่งงานกับแม่ศรีคำ ซึ่งเป็นคนเมืองน่านในสมัยนั้นไม่มีนามสกุลวัดกู่คำ ตั้งอยู่ใกล้สี่แยกสวนศรีเมือง บริเวณหน้า สถานีตำรวจภูธรอำเภอเมืองน่าน มีประวัติอันยาวนานเริ่มจากประมาณ พ.ศ. 2410 นายฮ้อยก่า คำปุก ชาวไทยใหญ่ เมืองเชียงตุง ประเทศพม่า ได้อพยพมาทำมาหากินในเขตจังหวัดน่าน โดยมีอาชีพรับสัมปทานป่าไม้ ซึ่งสมัยนั้นเรียกว่า “นายฮ้อยไม้” นายฮ้อยก่า คำปุก ได้แต่งงานกับแม่ศรีคำ ซึ่งเป็นคนเมืองน่านในสมัยนั้นไม่มีนามสกุล

ที่ตั้ง: ตำบล ในเวียง อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 05:00 - 19:00 น.
ติดต่อ: 091-8519581
Facebook: วัดกู่คำ
ขอบคุณที่มา: www.nanud.com
ขอบคุณคลิปวิดีโอ:พักบ้างอะไรบ้าง Superstar Vacation

#วัดกู่คำ #จังหวัดน่าน #แหล่งศรัทธาความเชื่อ
วัดกู่คำ
วัดกู่คำ วัดกู่คำ ตั้งอยู่ใกล้สี่แยกสวนศรีเมือง บริเวณหน้า สถานีตำรวจภูธรอำเภอเมืองน่าน มีประวัติอันยาวนานเริ่มจากประมาณ พ.ศ. 2410 นายฮ้อยก่า คำปุก ชาวไทยใหญ่ เมืองเชียงตุง ประเทศพม่า ได้อพยพมาทำมาหากินในเขตจังหวัดน่าน โดยมีอาชีพรับสัมปทานป่าไม้ ซึ่งสมัยนั้นเรียกว่า “นายฮ้อยไม้” นายฮ้อยก่า คำปุก ได้แต่งงานกับแม่ศรีคำ ซึ่งเป็นคนเมืองน่านในสมัยนั้นไม่มีนามสกุลวัดกู่คำ ตั้งอยู่ใกล้สี่แยกสวนศรีเมือง บริเวณหน้า สถานีตำรวจภูธรอำเภอเมืองน่าน มีประวัติอันยาวนานเริ่มจากประมาณ พ.ศ. 2410 นายฮ้อยก่า คำปุก ชาวไทยใหญ่ เมืองเชียงตุง ประเทศพม่า ได้อพยพมาทำมาหากินในเขตจังหวัดน่าน โดยมีอาชีพรับสัมปทานป่าไม้ ซึ่งสมัยนั้นเรียกว่า “นายฮ้อยไม้” นายฮ้อยก่า คำปุก ได้แต่งงานกับแม่ศรีคำ ซึ่งเป็นคนเมืองน่านในสมัยนั้นไม่มีนามสกุล
0
วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร

วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร

วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร เป็นอีกหนึ่ง วัดสวย เมืองน่าน ที่น่าแวะไปสักการะค่ะ ซึ่งวัดแห่งนี้ตั้งอยู่กลางเมืองน่าน ตรงข้ามพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน เดิมชื่อวัดหลวงกลางเวียง เป็นวัดที่มีความงดงามมากจริงๆ ใครไปเที่ยวน่าน ไม่ควรพลาดสร้างขึ้นโดยพญาภูเข่ง เจ้าผู้ครองนครเมืองน่าน อายุมากกว่า 600 ปี ประกอบด้วยวิหารขนาดใหญ่ ลักษณะสถาปัตยกรรมแบบล้านนาไทย ลักษณะภายในโอ่โถง ประดิษฐานพระประธานองค์ใหญ่ มีเสาปูนกลมขนาด 2 คนโอบ จำหลัก ลวดลายปูนปั้นนูนสูงเหนือระดับพื้นวิหาร 1.50 เมตร เป็นลวดลายกนกระย้าย้อย เหมือนลวดลายของเสาในวิหารวัดภูมินทร์ ด้านหน้ามีสิงห์คู่ยืนตรงเชิงบันได ภายในวัดยังประดิษฐานเจดีย์ช้างค้ำ ทรงลังกา สูงตระหง่านมีรูปปั้นรูปช้างครึ่งตัวประดับอยู่โดยรอบ ลักษณะเหมือนฐานรองรับไว้ด้านละ 6 เชือก รวมทั้งหมด 24 เชือก เป็นศิลปะที่น่านรับผ่านอาณาจักรสุโขทัย มีความสวยงามเป็นเอกลักษณ์

ที่ตั้ง: ถนน สุริยพงษ์ ตำบล ในเวียง อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 06:00–18:00 น.
ติดต่อ: 054-710038
Facebook: วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร
Instagram:วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร
ขอบคุณที่มา: www.travel.trueid.net
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: Hello ล้านนา

#วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร #แหล่งศรัทธาความเชื่อ #จังหวัดน่าน
วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร
วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร เป็นอีกหนึ่ง วัดสวย เมืองน่าน ที่น่าแวะไปสักการะค่ะ ซึ่งวัดแห่งนี้ตั้งอยู่กลางเมืองน่าน ตรงข้ามพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน เดิมชื่อวัดหลวงกลางเวียง เป็นวัดที่มีความงดงามมากจริงๆ ใครไปเที่ยวน่าน ไม่ควรพลาดสร้างขึ้นโดยพญาภูเข่ง เจ้าผู้ครองนครเมืองน่าน อายุมากกว่า 600 ปี ประกอบด้วยวิหารขนาดใหญ่ ลักษณะสถาปัตยกรรมแบบล้านนาไทย ลักษณะภายในโอ่โถง ประดิษฐานพระประธานองค์ใหญ่ มีเสาปูนกลมขนาด 2 คนโอบ จำหลัก ลวดลายปูนปั้นนูนสูงเหนือระดับพื้นวิหาร 1.50 เมตร เป็นลวดลายกนกระย้าย้อย เหมือนลวดลายของเสาในวิหารวัดภูมินทร์ ด้านหน้ามีสิงห์คู่ยืนตรงเชิงบันได ภายในวัดยังประดิษฐานเจดีย์ช้างค้ำ ทรงลังกา สูงตระหง่านมีรูปปั้นรูปช้างครึ่งตัวประดับอยู่โดยรอบ ลักษณะเหมือนฐานรองรับไว้ด้านละ 6 เชือก รวมทั้งหมด 24 เชือก เป็นศิลปะที่น่านรับผ่านอาณาจักรสุโขทัย มีความสวยงามเป็นเอกลักษณ์
0
ข่วงเมืองน่าน

ข่วงเมืองน่าน

เมืองน่าน น่าน เป็นเมืองเล็กๆ ที่น่ารัก และสงบเงียบ เหมาะกับการไปเที่ยวชมธรรมชาติ สัมผัสวิถีชีวิตชาวบ้าน และสโลว์ไลฟ์นั่งมอง ทุ่งนาสวยๆ ค่ะ ทำให้ที่นี่เป็นที่เที่ยวที่หลายคนอยากไปเยือนสักครั้ง สถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดน่านนั้นมีมากมายที่น่าสนใจ ไม่ว่าจะเป็น วัดวาอาราม ธรรมชาติ วัฒนธรรม และโฮมสเตย์ นั่นเอง ก่อนที่จะเป็น จังหวัดน่าน เหมือนในปัจจุบัน เมืองน่าน นั้นในสมัยอดีต เคยเป็นเมืองเล็กๆ ที่ก่อตัวขึ้นในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 18 บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำน่านค่ะ โดยแต่เดิมนั้นมีการเรียกชื่อใหม่ว่า นันทบุรี แต่ก็มีหลายพยางค์และเรียกยาก ชาวบ้านจึงกลับมานิยมเรียกตามเดิมว่า "เมืองน่าน" มาจนถึงทุกวันนี้ ที่มาของชื่อเมืองน่าน "เมืองน่าน" มาจากชื่อ แม่น้ำน่าน อันเป็นที่ตั้งของเมืองที่อยู่บนสองฟากฝั่งแม่น้ำน่าน ชื่อของเมืองน่าน ได้ปรากฏในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง เรียกว่า เมืองน่าน คือ ตั้งแต่แรกตั้งเมืองใหม่ ณ ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำน่านนั่นเองค่ะ

ที่ตั้ง: ตำบล ในเวียง อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 08:00 - 16:30 น.
ติดต่อ: 054-710234
Facebook: ข่วงเมืองน่าน
Instagram:ข่วงเมืองน่าน
ขอบคุณที่มา: www.travel.trueid.net
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: FOLLOW ME Creator

#ข่วงเมืองน่าน #จังหวัดน่าน #เที่ยวชมธรรมชาติ สัมผัสวิถีชีวิตชาวบ้านและสโลว์ไลฟ์
ข่วงเมืองน่าน
ข่วงเมืองน่าน ข่วงเมืองน่าน อยู่ใจกลางเมืองน่าน จังหวัดเล็กๆ ที่น่ารัก และสงบเงียบ ที่ข่วงเมืองน่านมีถนนคนเดินในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ตอนเย็น เป็นสถานที่ยอดนิยมในหมู่นักท่องเที่ยว ถนนคนเดินกาดข่วงเมืองน่าน จัดขึ้นทุกวันศุกร์-เสาร์-อาทิตย์ ของสัปดาห์และตลอดเดือนจะมีการจำหน่ายสินค้า ณ บริเวณถนนผากองด้านข้างวัดภูมินทร์ และจะมีลานข่วงเมืองน่านขนาดใหญ่ ด้านหน้าวัดภูมินทร์ไว้สำหรับบริการนักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปที่ต้องการมาสัมผัสถึงกลิ่นอายวัฒนธรรมของคนเมืองน่านโดยการนั่งรับประทานอาหารแบบขันโตกพื้นเมือง ชมการแสดงทางวัฒนธรรม และจะมีการจำหน่ายสินค้า อาหารพื้นเมือง เสื้อผ้าพื้นเมืองของที่ระลึก ไว้ให้นักท่องเที่ยวเข้ามาลองชิมและเลือกซื้อของฝากกลับบ้าน ถนนคนเดินกาดข่วงเมืองน่านมีจำนวนร้านค้า มาจำหน่ายสินค้า อาหารการกิน จำนวนมากถึง 357 ร้านโดยจะแบ่งออกเป็น 2 โซน คือ โซนอาหาร 160 ร้านและโซนเสื้อผ้า กิ๊ฟช็อป ของที่ระลึก 197 ร้านซึ่งอาหารที่ได้รับการตอบรับดีส่วนมากจะเป็นอาหารพื้นเมือง อาทิ น้ำพริกอ่อง ใส้อั่ว ไกยี แกงฮังเล และแกงแค ส่วนเสื้อผ้าและของที่ระลึกส่วนมากจะเป็นเสื้อผ้าฝ้ายสีดำ สีขาว สิ้นค้าทำมือที่ทำมาจากผ้าฝ้ายก็ได้รับการตอบรับอย่างดีเช่นเดียวกัน ในขณะที่ถนนคนเดินกาดข่วงเมืองน่านแห่งนี้รณรงค์ให้เป็นถนนคนเดินปลอดโฟม เพื่อสิ่งแวดล้อม 100% อีกด้วยนักท่องเที่ยวสามารถเดินเลือกซื้ออาหาร มากมายหลากหลาย ทั้งคาวหวาน อาหารพื้นเมือง ยำรวม ผักผลไม้ น้ำหวาน คั้นจากผลไม้ต่างๆนาๆ จะหาส้มตำแซ่บก็มี หาซื้อเสื้อผ้าพื้นเมือง สำเร็จรูป ของฝากของที่ระลึกจากจังหวัดน่าน และสามารถนำอาหารไปนั่งปูเสื่อฟังเพลง ดนตรีพื้นบ้านโฟล์คซองและเพื่อชีวิต ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันสร้างสีสันในยามค่ำคืน
0
วัดภูมินทร์

วัดภูมินทร์

วัดภูมินทร์ ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ ในปี พ.ศ. 2410 ในสมัยพระเจ้า อนันตวรฤทธิเดช (ปลายสมัยรัชกาลที่ 4 ต่อรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์) ซึ่งเจ้าผู้ครองนครน่านมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง จึงทรงโปรดให้ช่างหลวงบูรณะวัดเป็นครั้งใหญ่ มีจำนวนถึง 22 วัด และวัดภูมินทร์ก็ได้รับการบูรณะเป็นอันดับที่ 9 ใช้เวลาบูรณะอยู่ราว 8 ปี (พ.ศ. 2410 - 2418) ซึ่งกรมศิลปากรสันนิษฐานว่า การบูรณะครั้งนี้ เป็นที่มาของภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวิหารวัดภูมินทร์นี้เอง ภาพจิตกรรมฝาผนังที่โดดเด่นเป็นพิเศษในวัดภูมินทร์แห่งนี้ก็คือ ภาพ “กระซิบบันลือโลก” หรือภาพ “ปู่ม่าน ย่าม่าน” ซึ่งเป็นคำเรียกผู้ชายผู้หญิงชาวไทลื้อสมัยโบราณ ในลักษณะกระซิบสนทนากัน เป็นหนึ่งกิจกรรม ที่ต้องมาทำ

ที่ตั้ง: 42 ถนน สุริยพงษ์ ตำบล ผาสิงห์ อำเภอเมืองน่าน น่าน 55000
เวลาทำการ: 06.00 – 18.00 น. 
ติดต่อ: 054-710561
Facebook: วัดภูมินทร์
ขอบคุณคลิปวิดีโอ: googotv

#วัดภูมินทร์ #จังหวัดน่าน #แหล่งศรัทธาความเชื่อ
วัดภูมินทร์
วัดภูมินทร์ เป็นวัดที่มีโบสถ์และวิหารสร้างเป็นอาคารหลังเดียวกันประตูไม้ทั้งสี่ทิศ แกะสลักลวดลายโดยช่างฝีมือล้านนาสวยงามมาก นอกจากนี้ฝาผนังยังแสดงถึงชีวิตและวัฒนธรรมของยุคสมัยที่ผ่านมาตามพงศาวดารของเมืองน่าน วัดภูมินทร์สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2139 โดยพระเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ เจ้าผู้ครอง จุดเด่นของวัดอีกอย่างที่เป็นที่เลื่องลือกัน คือภาพจิตรกรรมฝาผนัง หรือ ฮูปแต้ม แสดงเรื่องราวชาดก วิถีชีวิตและตำนานพื้นบ้านของชาวน่านในอดีต ภาพที่มีชื่อเสียงมากคือ ภาพจิตกรรมปู่ม่านย่าม่าน หรือกระซิบรัก ผลงานของหนานบัวผัน จิตรกรพื้นถิ่นเชื้อสายไทลื้อ
0

พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้กัน

ยังไม่มีการแสดงความคิดเห็น

เส้นทางจักรยาน : เส้นทางชมเมืองเก่าน่าน (ระยะทาง 9.18 กิโลเมตร)